Skip to main content

ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งกับ รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา ยูนิพันธุ์ ที่ผลงานการวิจัยได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารนานาชาติ คุณภาพระดับสูง Tier1 Research publication ปี 2022

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งกับ รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา ยูนิพันธุ์ อาจารย์สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต

ที่ผลงานการวิจัยได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารนานาชาติ คุณภาพระดับสูง Tier1 Research publication ปี 2022

Research: Comparison of 12 and 24-hours shift impacts on ICU nursing care, efficiency, safety, and work-life quality

Corresponding Author Associate Professor Dr. Jintana Yunibhand
Journal: International Nursing Review

สนใจติดตามอ่านได้ที่ DOI: 10.1111/inr.12715
https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/inr.12715

Implications for nursing and nursing policy
“We found that 24-h shifts had deleterious impacts on care quality and safety and nurse satisfaction with work. Health and nursing policymakers are urged to provide resources and strategize to implement 12 h shifts as soon as possible since the current 24-h shifts of nurses affect the patient quality of care and their health and safety and that of the nurses.”

  • Hits: 764

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งกับ อาจารย์ ดร.ศิรินภา จิตติมณี ที่ผลงานการวิจัยได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารนานาชาติ คุณภาพระดับสูง Q1 ปี 2022

ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งกับ
อาจารย์ ดร.ศิรินภา จิตติมณี
อาจารย์สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่ผลงานการวิจัยได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารนานาชาติ คุณภาพระดับสูง Q1 ปี 2022
งานวิจัยเรื่อง “Systematic TB screening using WHO radiograph categorisation and care outcomes”
Journal:
The International Journal of Tuberculosis and Lung Disease”
Journal:
The International Journal of Tuberculosis and Lung Disease”
Quartile 1 Research publication กลุ่ม Medicine
Dr.Sirinapha Jittimanee First Author
สนใจติดตามอ่านได้ที่ DOI: 10.5588/ijtld.21.0618
MeSH terms
Artificial Intelligence*
Humans
Mass Screening* / methods
Prisons
Retrospective Studies
World Health Organization
 
  • Hits: 646

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการจัดโครงการฝึกอบรม "การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานสำหรับนิสิต"

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ดำเนินการจัดโครงการฝึกอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานสำหรับนิสิต โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุวิมล โรจนาวี และ อาจารย์ ดร.ชลลดา จงสมจิตต์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ โดยจัดขึ้นระหว่าง เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานที่ประกอบไปด้วย การประเมินสภาพผู้ที่ต้องการการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน วิธีการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน และการขอความช่วยเหลือจากแหล่งช่วยเหลือ เพื่อการส่งต่อผู้ที่หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น ผู้ประสบอุบัติเหตุได้ และมีทักษะที่ถูกต้องเกี่ยวกับการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ผ่านการฝึกทักษะในสถานการณ์จำลอง โดยมีนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 120 คน

  • Hits: 1043